dp h

บทความ (Publications) ปีที่ได้รับการตีพิมพ์  
ปี 2564  
  • พ.ต.อ.อภิชาติ อภิชานนท์. (2564).
    การนำนโยบายอินเทอร์เน็ตสำหรับการคุ้มครองเด็กไปปฏิบัติในประเทศไทย. วารสารปาริชาต, 34(2), (รอเลขหน้า).
 
ปี 2563  
  • วิมลมาลย์ สวัสดี. (2563). 
    การพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจเพื่อสังคมด้านการท่องเที่ยวในประเทศไทย
    . วารสารพัฒนาสังคม, 22(2), (รอเลขหน้า).
 
  • กิรติกาญจน์ สดากร และพงษ์เทพ จันทสุวรรณ. (2563). 
    การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทุนมนุษย์และการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยสูงอายุของครูกลุ่มประชากรรุ่นเกิดล้านในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1. วารสารสามาคมนักวิจัย, 25(1), (รอเลขหน้า).
 
  • จงเพ็ชน์ จันทร์ลา. (2563). 
    ความไว้วางใจกับความสำเร็จของคลัสเตอร์ด้านการแปรรูปอาหาร: กรณีศึกษาตำบลท่าสุด จังหวัดเชียงราย
    . วารสารพัฒนาสังคม, 22(2), (รอเลขหน้า)
 
  • วรภัทร เมฆขจร และดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2563). 
    ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการตัดสินใจในการเรียนด้วยตนเองของนักศึกษาปริญญาตรี
    . วารสารพฤติกรรมการศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 12(1), 74-91.
 
  • นักสิทธิ์ ศักดาพัฒน์. (2563). 
    ปัจจัยเชิงสาเหตุแบบบูรณาการทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาปริญญาโท
    . วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 14(1), (รอเลขหน้า).
 
  • Santhita Phayungphong. (2020). 
    An investigation of Eldercare Practices in Thailand though Institutional Logics Lens. ABAC ODI JOURNAL VISION
    . ACTION. OUTCOME., 7(1), 116-131.
 
ปี 2562  
  • วทัญญู ใจบริสุทธิ์. (2562). 
    การศึกษาเปรียบเทียบกระบวนนโยบายของนโยบายหนึ่งตาบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ (One Tambon One Product: OTOP) ของไทย และนโยบายหนึ่งหมู่บ้านหนึ่งผลิตภัณฑ์ (One Village One Product: OVOP) ของญี่ปุ่น
    . วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 36(2), 17-39.
 
  • กันยารัตน์ เชี่ยวเวช และ อาแว มะแส. (2562). 
    การพัฒนาพันธกิจความผูกพันมหาวิทยาลัยกับสังคมผ่านงานบริการวิชาการสู่ชุมชน กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    . Veridian E-Journal: Humanities, Social Sciences, and Arts, 12(1), 510-530.
 
  • กฤทจ์พิสิษฐ์ ตั้งจิตปรารถนา กฤษณะโชติ บัวหล้า และกาญจนา สินมา. (2562). 
    ปัจจัยทางจิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสนับสนุนบุคคลรอบข้างให้เลือกซื้อสินค้าอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
    . ใน การประชุมสัมมนางานวิจัยจิตพฤติกรรมศาสตร์ด้านระบบพฤติกรรมไทย ภายใต้เรื่อง “พลังคุณธรรม จริยธรรม นำแก้วิกฤตชาติ” วันที่ 14 มิถุนายน 2562. หน้าที่ - . กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย.
 
  • กฤทจ์พิสิษฐ์ ตั้งจิตปรารถนา, ดุจเดือน พันธุมนาวิน, ดวงเดือน พันธุมนาวิน และศรัณย์ พิมพ์ทอง. (2562). 
    จิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าอย่างมีวิจารณญาณ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
    . วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University. 12(3), 100-123.
 
  • ปริศนา กาญจนกันทร และสุพรรณี ไชยอำพร. (2562). 
    ตัวแบบความสัมพันธ์ในครอบครัวไทย ยุคโลกาภิวัตน์
    . วารสารพัฒนาสังคม. 21(2), 164-175.
 
  • Sakdapat, N. (2562).
    The Greater Bay Area (GBA): Opportunities and Challenges in Thai-Chines Economic Bridging. The Eighth Chinese-Thai Strategic Research Seminar (25-29 June 2019). (pp.60-69). Xiamen, China.
 
  • Chakkaphong Keyen., Bhanthumnavin,D., Bhanthumnavin, D. & Meekhun, K. (2019). 
    Effects of Reading and Writing Persuasive Messages on Career Intentionto be a Professional Farmer among High School Students in Thailand Rural. Veridian E-Journal,Silpakorn University Humanities, Social Sciences and arts, 12(3), 217-240.
 
ปี 2561  
  • สรณัฐ เมืองโคตร และดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2561). 
    ปัจจัยเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในโครงการความรับผิดชอบต่อสังคม ของพนักงานบริการภาคพื้น บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน), วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 10(2), 162-182.
 
  • ชยุต อินทร์พรหม. (2561). 
    เศรษฐกิจพอเพียงกับเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์ท ทำนํา 1 ไร่ ได้ 1 แสน. วารสารพัฒนาสังคม. 20(2), 1-15.
 
  • กนิษฐา แย้มโพธิ์ใช้ และอาแว มะแส. (2561). 
    การสร้างแบบจำลองเครือข่ายทางสังคมบนเฟสบุ๊กสำหรับการจัดการปัญหาด้านความรักของผู้หญิง
    . วารสารพัฒนาสังคม. 20(1): 97-118.
 
  • Keyen , C., Bhanthumnavin,D., Bhanthumnavin, D. & Meekhun, K. (2018). 
    Causal Relationship Model of Career Intention to be Professional Farmers Among High School Students in Rural Thailand. International Journal of Education and Psychological Research, 7(4), 34-43. 
 
ปี 2560  
  • ศิรินันต์ สุวรรณโมลี. (2560). 
    เส้นทางความเหลื่อมล้ำของชาวเลชุมชนหาดราไวย์ จังหวัดภูเก็ต. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 10(1), 89-135.
 
  • ศิรินันต์ สุวรรณโมลี. (2560). 
    การวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุในการลดผลกระทบจากแผ่นดินไหวระดับหมู่บ้านจากความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของจังหวัดเชียงราย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 5(3), 633-642.
 
  • Jitsupa Kitipadung. (2017). 
    An Analysis of Policy Development: A Case Study of Thailand’s Village and Urban Community Fund
    . Veridian E-Journal, 10(5), 320 – 336.
 
ปี 2559  
  • ศิรินันต์ สุวรรณโมลี. (2559).
    การวิเคราะห์เครือข่ายสังคมในการรับมือกับแผ่นดินไหวของจังหวัดเชียงรายในปี 2557
    . วารสารวิจัยสังคม. 39(1), 109-145.
 
  • วิไลลักษณ์ รุ่งเมืองทอง และสุพรรณี ไชยอำพร. (2559). 
    กระบวนการเสริมพลังอำนาจประชาชนเพื่อการเป็นปึกแผ่นของชุมชน
    , วารสารพัฒนาสังคม, 18(2), 77-101.
 
  • ตรงกมล สนามเขต และดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2559). 
    จิตลักษณะ ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกของครอบครัวที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้วิธีการอบรมเลี้ยงดูในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 8(1), 163-186.
 
ปี 2558  
  • ศิรินันต์ สุวรรณโมลี. (2558). 
    ชาวเลในขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมแบบใหม่ เพื่อการอยู่รอดของชุมชนและวิถีวัฒนธรรม
    . วารสารวิจัยสังคม, 38(1), 109-136.
 
ปี 2557  
  • สุพรรณี ไชยอำพร และวิไลลักษณ์ รุ่งเมืองทอง. (2557). 
    แนวคิดว่าด้วยเรื่องอาหาร...ความท้าทายต่อนโยบายด้านอาหารมนุษย์ของรัฐ
    . วารสารพัฒนาสังคม, 16(2), 103-117.
 
รางวัล (Awards or Honors)  
  • พระครูสุจิณ กัลยาณธรรม (วิเชียร กัลยาโณ)
PDF Download
  • พ.ต.อ.อภิชาติ อภิชานนท์
PDF Download