คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)

การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2560 (15 ก.ค.2560)

รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ : การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร 2560 (ครั้งที่ 2)

 

  ดาวน์โหลดไฟล์รายงานสืบเนื่องการประชุม

 

สาส์นจากคณบดี

รายชื่อคณะกรรมการจัดงานและคณะทำงาน

รายชื่อกองบรรณาธิการจัดทำรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับชาติ

รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความ

บทความที่

เรื่อง

หน้า

1

แนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้นำศาสนาเพื่อเสริมสร้างสันติสุขในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้

:ประจวบ ทองศรี 

 

2

การพัฒนาระบบบัญชาการเหตุการณ์ในการจัดการภาวะฉุกเฉินจากเหตุภัยพิบัติ

:พันตรีชัยวัฒน์ จันลีพิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต

 

3

การก่อเกิด พัฒนาการและการจัดการกลุ่มวิสาหกิจยะลาไบโอดีเซล

:จักรกฤช เรืองทองสุพรรณี ไชยอำพร

 

4

รูปแบบและขั้นตอนการขับเคลื่อนร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิตในประเทศไทย

:บารมี พาณิชสุพรรณี ไชยอำพร

 

5

การรับรู้คุณความดีแผ่นดินและสถานการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมซื่อสัตย์ในการทำงานของผู้นำท้องถิ่น

:พชรมน นนทภาดุจเดือน พันธุมนาวิน

 

6

การเรียนรู้พฤติกรรมเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรเชิงพุทธ

:ธงชัย สิงอุดม

 

7

ภาวะผู้นำข้ามวัฒนธรรมแบบวะ: ความกลมเกลียวของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

:ณัฐพล จารัตน์

 

8

การมีส่วนร่วมในวิสาหกิจชุมชนกับคุณภาพสังคมของประชาชนในชุมชนท่าข้าม ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

:รังสิตา บุญโชติอาแว มะแส

 

9

ความสัมพันธ์ระหว่างจิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมกับพฤติกรรมประหยัดไฟฟ้าของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

:อิงชนก สุวถาวรกุลดุจเดือน พันธุมนาวิน

 

10

พัฒนาการเครือข่ายความสัมพันธ์ทางสังคมของกลุ่มอนุรักษ์อ่าวปัตตานี

:ศิรดา เหาะเจริญ

 

11

ปัจจัยเชิงเหตุทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมฉลาดเลือกกินของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

:แสงเดือน เหาะสูงเนินดุจเดือน พันธุมนาวิน

 

12

ภูมิปัญญาข้าวกับความมั่นคงทางอาหารในประเทศไทย

:จิรัญภรณ์  เกตสมิงหลี่ เหรินเหลียง

 

13

กลยุทธ์การพัฒนาองค์กรแห่งความสุขตามแนวพระพุทธศาสนา

สามารถ บุญรัตน์

 

14

การบริหารเชิงจริยธรรมในองค์กรของรัฐตามแนวพุทธศาสนา

:บุศรา โพธิสุข

 

15

ล่ามภาษาญี่ปุ่นที่พึงประสงค์ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กรณีศึกษา ผู้ใช้ล่ามญี่ปุ่น กลุ่มความร่วมมือสหกิจศึกษาคณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

:วิษณุ เพชรไทย

 

16

บทบาทที่เป็นจริงและบทบาทที่คาดหวังของศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 10 ในทัศนะของพนักงานสอบสวน ศึกษาเฉพาะกรณี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

:พันตำรวจหญิงสุธินี  เปี่ยมทองสุพรรณี ไชยอำพร

 

17

การพัฒนาภาวะผู้นำเทคโนโลยีสารสนเทศให้นักเรียนนายร้อยของโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

:พันโทอุทัย สุวรรณวงศ์

 

18

การประเมินการฝึกอบรมวิชาชีพโครงการสร้างชีวิตใหม่ให้สตรีและครอบครัว (หลักสูตร 44 วัน): ศึกษากรณีศูนย์เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษาบรมราชินีนาถ จังหวัดลำพูน

:ลักษณา อิศรางกูร ณ อยุธยาสุรสิทธิ์ วชิรขจร

 

19

ภูมิปัญญาการทำนาเพื่อลดต้นทุนเพิ่มผลผลิตขององค์กรเกษตรกรกลุ่มมดงานสร้างเมือง

:นุชฎา จำเริญสาร

 

20

แนวคิดและงานพระพุทธศาสนาเพื่อสังคมของเสถียรธรรมสถาน

:ชมกร เศรษฐบุตร

 

21

ความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่ได้รับการจัดสวัสดิการรูปแบบสถาบันของศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

:กิ่ง ชาเรืองฤทธิ์พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต

 

22

นโยบายการเสริมสร้างความความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนตามแนวทางพระพุทธศาสนา

:วรรณพร บุญรัตน์

 

23

ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนกับค่าใช้จ่ายทางการศึกษารายหัวระดับประถมศึกษา

:นริญา จันทร์กลับ

 

24

การปรับตัวทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน: กรณีศึกษา คนไทยเชื้อสายจีนย่านเยาวราช

:ภัทรภร สุวรรณจินดาหลี่ เหรินเหลียง

 

25

การจัดการสวัสดิการชุมชนของคนจนเมือง กรณีศึกษา: ชุมชนรุ่งมณีพัฒนา

:ลิสา  ใจสะอาดสมศักดิ์ สามัคคีธรรม

 

26

การจัดการสวัสดิการผู้สูงอายุในกลุ่มชุมชนคนจนเมือง: กรณีศึกษาชุมชนหมู่บ้านพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร

:สุพิชชา  เอกะระสมศักดิ์ สามัคคีธรรม

 

27

พัฒนาการกระบวนการบริหารจัดการและผลกระทบจากการดำเนินงาน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผ้าทอนาหมื่นสี อ.นาโยง จ.ตรัง

:สุนิสา สัจจาเฉลียวสุรสิทธิ์ วชิรขจร

 

28

ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฏิบัติงานสวัสดิการสังคมสำหรับผุ้สูงอายุของนักพัฒนาสังคม ในสังกัดสำนักงานเขตกรุงเทพ และสังกัดสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด

:ชนกานต์ ฉ่ำพงษ์ทิพวรรณ กิตติวิบูลย์

 

29

คุณภาพชีวิตและความมั่นคงในอาชีพนักฟุตบอลไทย

:ศศิน มะกูรดี,อาจารย์คณะ

 

30

การจัดการขยะโดยชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนบ้านกะมิยอ ต.กะมิยอ อ.เมือง จ.ปัตตานี

:โสรยา ดาโอะสมศักดิ์ สามัคคีธรรม

 

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารการพัฒนาสังคม และสาขาวิชาการเมืองและยุทธศาสตร์การพัฒนา มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ สังเคราะห์ และมีปัญญาเชิงปฏิบัติควบคู่กับคุณธรรม และเข้าใจการปฏิสัมพันธ์ระหว่างการเมือง อำนาจ เหตุผล คุณธรรม และการพัฒนาอย่างเป็นระบบ

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้เป็นนักวิชาการ นักวิจัย นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักบริหารด้านการพัฒนาสังคม และสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร

ทุนคณะพัฒนาสังคมฯ

คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร เปิดรับนักศึกษาใหม่โดยมีทุนการศึกษา ทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก 3 ประเภท ได้แก่ ทุนช้างเผือก ทุนค่าธรรมเนียมการศึกษา และทุนสนับสนุนวิทยานิพนธ์

คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร

สถาบันชั้นนำของประเทศที่สร้างองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาทางสังคม

วิสัยทัศน์

คณะชั้นนำที่ผลิตบัณฑิตและองค์ความรู้ด้านการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหารในระดับมาตรฐานสากล

ปรัชญา

เรียนรู้แบบองค์รวมเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสังคมอย่างมีคุณธรรม

คำขวัญ

วิเคราะห์ได้ วิจัยเป็น เห็นลู่ทาง วางนโยบาย คลายปัญหา พัฒนาสังคม

GSDMS ข้อมูลอัพเดท

ข่าวล่าสุดข้อมูลการรับเข้าเรียนข่าวสารและกิจกรรม

 
  1. ข่าวการรับสมัคร
  2. ข่าวและประกาศ
  3. ข่าวกิจกรรม

GSDMS วารสารแนะนำ 

หนังสือและวารสารที่แนะนำ

สายตรง คณบดี

   ท่านสามารถร้องเรียน แจ้งปัญหา หรือเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาคณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร โปรดระบุชื่อเรื่องที่ร้องเรียน แจ้งปัญหา หรือแนะนำ เป็นข้อความภาษาไทยเพื่อความรวดเร็วในการสื่อสาร ผ่านทางอีเมล  dean.sdas@nida.ac.th  หรือฟอร์มติดต่อนี้

FOLLOW US

ติดตามเราผ่าน โซเชียลเน็ตเวิร์ค ได้ที่